ฮาร์ตแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 5 ส่วน หน่วยรับข้อมูล ได้แก่ หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ |
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 5 ส่วน หน่วยรับข้อมูล ได้แก่ หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ |
โรคเบาหวาน ดีบัวแห้ง(บดแล้ว) 1 ช้อนกาแฟใส่น้ำร้อน 1 แก้ว ชงดื่มก่อนนอน ห้ามเพิ่มปริมาณดีบัวเด็ดขาด ทั้งนี้ต้องคุมอาหารประกอบ ะวังอาหารเค็มและมีมันมาก
โรคเบาหวาน ใบมะยม( ในกรณีที่หาดีบัวแห้งไม่ได้ ) ใช้ใบมะยมครั้งละ 8 ก้าน และใบฝรั่งครั้งละ 5 - 7 ใบ หากมีลูกฝรั่งให้หั่นใส่ไปด้วย โดยไม่ต้องเอาเม็ดออก ต้มใบมะยมทั้งก้านกับฝรั่งและน้ำประมาณ 2แก้ว น้ำขนาดปกติ ใช้ดื่มต่างน้ำ
โรคกระดูกพรุน โรคอัลไวเมอร์ และการบำรุงสายตา เซาะแคลเซี่ยมส่วนเกิน แก้อาการข้อ ( เก๊าท์) แก้ภูมิแพ้ มีฤทธิ์ต้านมะเร็งใช้งาดำคั่วบด ทานครั้งละ 1 - 3 ช้อนโต๊ะ จะใช้คลุกข้าวรับประทานก็ได้ รับประทานเวลาใหนก็ได้
โรคซิสด์ เนื้องอก เซลล์มะเร็ง เห็ดหูหนูขาว เห็ดหูหนูดำ และเห็ดอะไรก็ได้อีก 1 ชนิด ปั่นรวมกันใส่น้ำต้มและทำเป็นซุบ ทานไปเรื่อยสัปดาห์ละ 2 - 3 ครั้ง ตัวจี๊ด นำมะระขี้นก จำนวน 5 ลูก หากให้ได้ผลดีให้ใช้ใบ ต้น ราก เม็ด ( ยกมาทั้งต้น ) ประมาณ 5ต้น นำมาต้มน้ำดื่มวันละ 2 แก้ว เช้า - เย็น หากมีลูกกระเจี๊ยบดิบให้รับประทานร่วมด้วยครั้งละ 2 ลูก
โรคไวรัสบี ใช้มะระขี้นก 2 ลูก ต่อน้ำ 1 แก้ว ปั่นเป็นเครื่องดื่มสด ดื่มครั้งละ 1 แก้ว เช้า - เย็น
โรคกระเพาะ ฟอกปอด และต้านโรคมะเร็ง นำใบมะรุมมาลวกเพื่อรับประทาน หรือรับประทานทั้งดิบๆก็ได้ ประมาณ 4 - 5ยอด วัันละครั้งพร้อมอาหารเย็น
โรคซิสด์ เนื้องอก เซลล์มะเร็ง นำต้นหนอนตายยากปริมาณ 1 กำมือล้างน้ำให้สะอาด ทุบให้ช้ำแล้วใส่น้ำประมาณ 2 แก้ว ต้มให้เหลือ 1 แก้วใช้ดื่มต่างน้ำ ( อาจทำให้ปัสสาวะบ่อย)
โรคมะเร็งตับ โรคมะเร็งเม็ดเลือด ใช้ลูกใต้ใบทั้งต้น จำนวน 6 ต้น ใส่สารส้ม (บดแล้ว ) ครึ่งว้อมกาแฟ เติมน้ำ 1 ลิตร ต้มให้ตัวยาออก ดื่ื่มครั้งละ 1 แก้ว เช้า - เย็น ก่อนอาหาร
โรคความดันโลหิตสูง ใช้หัวไชเท้า ขูดหรือซอยให้ได้ปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะ แช่น้ำส้มสายชู 20 นาที แล้วล้างน้ำให้สะอาด รับประทานหลังอาหารเย็นก่อนนอน ( สามารถทำปริมาณมากๆ )เก็บไว้ในตู้เย็นเพื่อรับประทานได้
โรคความดันโลหิตสูงดื่มน้ำผึ้งแท้ ใช้น้ำผึ้ง 1 - 2 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำโซดา วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
โรคครอเรสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์สูง ให้นำน้ำแอปเปิล 1 ผล ปั่นกับน้ำโซดา 1 แก้ว ดื่มก่อนนอน ั้งนี้ให้ระวังพืชท่ีมีครอเรสเตอรรอลสูง เช่น กระถิน มะเขือยาว ชะอม
โรคกระเพราะ ปวดท้อง ลมในกระเพาะมาก รับประทานขมิ้นชัน ทานปรฺมาณ 1นิ้วชี้ วันละ 1 ครั้ง หากเป้นขมิ้นชันให้รับประทาฯปริมาณ นิ้วก้อย และถ้าเป้นขมิ้นชันแคปซูลให้รับประทาน ประมาณ 3 แคปซูล หลังอาหารเย็น
โรคไขมันในลำใส้ กระเพาะไม่ย่อย ถุงน้ำดีไม่ทำงาน ใช้กระชาย ครึ้่งกิโลกรัม ใบกระเพรา 1 กำมือ ปั่นรวมกัน ใส่น้ำครึ่งลิตร กรองแล้วใส่น้ำผึ้งเล็กน้อย ประมาณ 1 ช้อนกาแฟ ดื่มวันละ 1 แก้ว เวลาใหนก็ได้
โรคไมเกรน ใช้พริกไทยดำ 7 เม็ด เคี้ยวพริกไทยในปากข้างที่ปวดศรีษะทีละ 1 เม็ดก็ได้ พริกไทยจะละลายข้างกระพุ้งแก้วทำอย่างนี้จนหมด 7เม็ด พยายามไม่ดื่มน้ำตาม ( ให้กลืนไปเลย ) ให้รับประทานตอนก่อนแปรงฟันตอนเช้า ประมาณ 3 - 4 สัปดาห์จะเห็นผล
โรคปวดท้องเประจำเดือน ใช้เกลือ 1 ช้อนกาแฟ น้ำตาลทราย 2 ช้อนกาแฟ + น้ำร้อน 1 แก้ว ให้ดื่มวันละ 2 - 3แก้ว ก่อนนอน และตลอดเวลาที่มีรอบเดือน ไม่ควรรับประมานของเย็น
โรคริดสีดวงทวาร กล้วยหอม 1 ใบ ไม่ต้องปลอกเปลือก นำไปต้มน้ำจนสุก รับประทานกล้วยที่ต้มแล้วทั้งเปลือกก่อนนอนเพราะเปลือกมีกำมะถันระษาโรคแล้วดื่มน้ำอุ่นตาม
ซิสด์หน้าอก ให้ใช้หวีพลาดติกหวีที่หน้อกระหว่างอาบน้ำ 5 - 6 ครั้ง ( โดยให้หวีลง )
ต่อมลูกหมาก ใช้ทับทิม 1 ผล ปั่นกับน้ำโซดา 1 แก้ว กรองแล้้วดื่มน้ำนั้น ก่อนนอนหากกลั้นปัสสาวะนานๆก็มีอาการปวดท้องได้เช่นกัน
โรคกระเพราะปัสสาวะอักเสบ ปัสสาวะเป็นเลือด ให้นำแตงร้านหรือแตงกวา 1 ลูก มาสับแล้วต้มน้ำใส่สารส้ม ครึ่งช้อนกาแฟ ดื่มหลัง อาหารเช้า - เย็น มื้อละ 1 ลูก
ถูกสารพิษ ภูมิแพ้ เมาค้าง นำใบรางจืดประมาณ 30 ใบ ต่อน้ำ 1 ลิตร ต้มดื่มต่างน้ำ
โรคหัวใจ นำหัวใจหมูสด ผ่าครึ่ง ล้างน้ำให้สะอาด นำทองคำเปลว 3 แผ่น ติดข้างในหัวใจหมู นำหัวใจมาประกบ ใช้เข็มกับด้ายเย็บติดกันใหม่ใช้ 3 หัวใจ นำไปต้ม หรือตุ๋น โดยใส่น้ำให้ท่วมหัวใจเมื่อต้มเปื่อยแล้วให้นำน้ำต้มหัวใจมาดื่ม ครั้งละประมาณ 1 ถ้วยกาแฟ วันละ 1 ถ้วย มื่อดื่มน้ำหมดแล้ว ให้น้เนื้อหัวใจนั้นมาหั่นรับประทานด้วยก็ดี ใช้จิ้มกับน้ำจิ้มอะไรก็ได้
ยาบำรุงหัวใจ ให้รับประทานเม็ดบัวต้มเป็นของหวาน ผลไม้อื่นที่ช่วยบำรุงหัวใจ คือ เชอร์รี่ดำ และมังคุด ส่วนผู้ที่เป็นโรคหัวใจโต ไม่ควรรับประทาน
มารู้จักโรคเบาหวานกันเถอะ
โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและวัยกลางคน ซึ่งมีสาเหตุมาจากร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลที่รับประทานเข้าไปได้หมดจึงทำให้น้ำตาลคั่งอยู่ในเลือด ถ้ามีน้ำตาลในเลือดมากจะถูกขับออกมาทางปัสสาวะ โรคนี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ วิธีรักษาที่ดีที่สุดคือการรักษาระดับน้ำตาลในร่างกายไม่ให้สูงขึ้น รวมทั้งการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้อง งดอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล ตรวจร่างกายเป็นประจำเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจากโรคเบาหวาน
1. มะระ ส่วนใหญ่จะใช้มะระขี้นก โดยใช้ผลดิบแก่ที่ยังไม่สุก และยอดอ่อน ใช้เนื้อรับประทานเป็นผักจิ้ม ผลของมะระนำมาลวกรับประทานกับน้ำพริก ส่วนผลมะระจีน ใช้ประกอบอาหาร เช่นแกงจืด ผัด
สรรพคุณทางยา ตามตำรายาไทย เป็นยารสขม ช่วยเจริญอาหาร น้ำคั้นจากผลช่วยแก้ไข้ และใช้อมแก้ปากเปื่อย ผลของมะระจีนที่โตเต็มที่แล้วนำมาหั่นตากแห้งชงกับน้ำร้อน ใช้ดื่มแทนน้ำชา แก้โรคเบาหวาน ใบสดของมะระขี้นกหั่นชงกับน้ำร้อนใช้ถ่ายพยาธิเข็มหมุดและนอกจากนั้นในผลและใบของมะระยังมีสารที่มีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือด ได้แก่ พี-อินซูลิน (p-insulin) ซึ่งเป็นสารโปรตีน และคาแรนติน(charantin) ซึ่งเป็นสารผสมของสเตียรอยด์ กลัยโคไซด์ 2 ชนิด
2. ตำลึง ตำลึงเป็นผักพื้นบ้าน ที่มีคุณค่าทางด้านอาหารสูง :ประกอบด้วยวิตามิน 10 แร่ธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินอื่น ๆ อีกมาก ยอดตำลึงใช้ปรุงอาหารได้หลายชนิด เช่นแกงจืด ผัดผัก ลวกจิ้ม น้ำพริก แกงเลียง ใส่ก๋วยเตี๋ยว นอกจากจะมีประโยชน์และคุณค่าทางอาหารสูง ในตำลึงยังพบกรดอะมิโน หลายชนิดในผลตำลึงพบสารคิวเดอร์ บิตาขึ้น –บี (cucurbitacinB)
สรรพคุณทางยา ใบและเถาตำลึงมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดได้ โดยมีการทดลองใช้น้ำคั้นจากใบและเถาตำลึง น้ำคั้นจากผลดิบ และสารสกัดจากเถาตำลึงด้วยแอลกอฮอล์ พบว่ามีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดของกระต่ายที่เป็นเบาหวานได้
3. เตยหอม ใบเตยมีสีเขียว น้ำคั้นจากใบเตย มีกลิ่นหอมนำมาใช้แต่งสีขนม แต่งกลิ่นอาหาร นอกจากนี้ยังนิยมนำมาเป็นเครื่องดื่ม น้ำที่ได้จากใบเตยมีสารสำคัญหลายชนิด เช่น ไลนาลิลอะซีเตท (Linalyl acetate),เบนซิลอะซีเตท (benzyl acetate), ไลนาโลออล(Linalool), และเจอรานิออล (geraniol) และมีสารหอมคูมาริน(Coumarin) และเอททิลวานิลลิน(ethyl vanilin)
สรรพคุณทางยา ในตำรายาไทย ใช้ใบเตยสดเป็นยาบำรุงหัวใจ ให้ชุมชื่นช่วยลดอาการกระหายน้ำ รากใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ใช้รักษาเบาหวาน น้ำต้มรากเตยสามารถลดน้ำตาลในเลือดของสัตว์ทดลองได้
- ตรวจร่างกายเป็นประจำ และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
- ป้องกันภาวะแทรกซ้อน - ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ดูแลรักษาร่างกาย ระมัดระวังไม่ให้เกิดแผล เพราะจะทำให้แผลหายช้า
อาการไข้หวัด 2009
ในคนนั้นมีอาการคล้ายกันกับอาการของคนที่เป็นหวัดปกติ และมีอาการต่อไปนี้คือ มีไข้ ท้องเสีย เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดศรีษะ หนาว และ ไม่มีเรี่ยวแรง อ่อนล้า ร่วมด้วย ในบางคนมีอาการท้องเสียร่วมกับอาเจียน และในอดีตมีรายงานว่าผู้ป่วยหลายคนมีอาการรุนแรงถึงขั้นเป็นปอดบวม และ ระบบหายใจล้มเหลว และเสียชีวิตในที่สุด เช่นเดียวกันกับหวัด ที่ไข้หวัด 2009อาจจะแย่ลงจนต้องมีสภาพการเรื้อรังผู้ที่ติดเชื้อไข้หวัด 2009 ควรได้รับการพิจารณาถึงศักยภาพในการติดเชื้อ ไข้หวัด 2009 ระยะเวลาความยาวนานของการฟักเชื้อจนมีอาการ และความเป็นไปได้ของอาการป่วยที่ยาวนานถึง 7 วัน เด็กๆ โดยเฉพาะเด็กเล็กอาจได้รับเชื้อเป็นเวลานาน